สมัครสมาชิก
Otsuka Official Store
Otsuka Official Store

ห้องสมุด

อัปเดต 08/10/2564

ภาวะทุพโภชนาการ ภัยเงียบที่ต้องระวัง !

สุขภาพทั่วไป โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคไต โรคตับ

ในภาวะเจ็บป่วย ร่างกายจะหลั่งสารอักเสบ ซึ่งส่งผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้เบื่ออาหาร อีกทั้งมีปัจจัยร่วมอื่นๆที่ทำให้ผู้ป่วยรับประทานได้น้อยลง เช่น การรับกลิ่นหรือรสผิดปกติ กระเพาะและลำไส้เคลื่อนไหวน้อย อาการปวด อาการคลื่นไส้ อาเจียน รวมไปถึงอารมณ์ความรู้สึก เช่น ความเครียด วิตกกังวล หรือซึมเศร้า ก็ทำให้รับประทานได้น้อยเช่นกัน

ดูรายละเอียด
อัปเดต 08/09/2564

7 สัญญาณเตือนเมื่อร่างกายได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วนทั้งอาหารผู้สูงอายุ หรือของผู้ป่วย

สุขภาพทั่วไป

การสังเกตอาการแสดงที่อาจบ่งชี้ถึงการได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วนไม่ว่าจะเป็นอาหารผู้สูงอายุ หรือของผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มแรกจึงมีความจำเป็น เพื่อที่รักษาได้อย่างรวดเร็ว และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นตามมาจากภาวะทุพโภชนาการ

ดูรายละเอียด
อัปเดตr 01/09/2564

เทคนิคง่ายๆ เพิ่มพลังงานในอาหารอย่างไรให้เพียงพอ

สุขภาพทั่วไป โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคไต โรคตับ

หากต้องการเพิ่มพลังงานในอาหารปกติ แนะนำให้เพิ่มปริมาณน้ำมันที่ใช้ประกอบอาหาร เนื่องจากน้ำมันให้พลังงานสูง เช่น การเติมกระเทียมเจียว เลือกเมนูทอดหรือผัด เช่น ไข่เจียว เป็นต้น

ดูรายละเอียด
อัปเดตr 30/08/2564

ทำไมบุคคลทั่วไป ถึงต้องกินอาหารทางการแพทย์ ?

สุขภาพทั่วไป

อาหารทางการแพทย์ เป็นอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน มีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างโภชนาการที่ดี เพื่อให้ได้รับพลังงาน และสารอาหารอย่างเหมาะสม

ดูรายละเอียด
อัปเดตr 21/06/2564

อาหารทางการแพทย์ ควรดื่ม “เสริม” หรือ “ทดแทน” มื้ออาหารดีนะ ?

สุขภาพทั่วไป โรคมะเร็ง โรคไต โรคเบาหวาน

ในรายที่มีปัญหาทุพโภชนาการ เสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร ไม่ว่าจะมีแนวโน้มของน้ำหนักตัวลดลง หรือรับประทานข้าวได้ไม่เพียงพอ แนะนำให้ดื่ม “เสริม” โดย 1 แก้ว ให้พลังงานประมาณ 250 กิโลแคลอรี และสำหรับผู้ที่มีปัญหาด้านการเคี้ยว การกลืน ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ หรือผู้ที่ต้องใช้สายให้อาหาร ควรใช้อาหารทางการแพทย์ “ทดแทน” มื้ออาหารหลักในแต่ละมื้อ

ดูรายละเอียด