
4 ขั้นตอน กระบวนการรักษามะเร็งด้วยรังสี
เมื่อแพทย์ตัดสินใจใช้รังสีรักษา ในผู้ป่วยที่ทราบผลชิ้นเนื้อและระยะของโรคแล้ว แพทย์จะมีการพูดคุย วางแผนกับผู้ป่วยและญาติ ถึงขั้นตอนกระบวนการฉายรังสี
ดูรายละเอียดเมื่อแพทย์ตัดสินใจใช้รังสีรักษา ในผู้ป่วยที่ทราบผลชิ้นเนื้อและระยะของโรคแล้ว แพทย์จะมีการพูดคุย วางแผนกับผู้ป่วยและญาติ ถึงขั้นตอนกระบวนการฉายรังสี
ดูรายละเอียดอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ เกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยที่รักษาด้วยเคมีบำบัดหรือการฉายแสง มักมีอาการปากแห้ง ช่องปากบวมแดง เกิดแผลในช่องปาก แสบร้อน และมีการรับรสที่เปลี่ยนแปลงไป อาจส่งผลต่อการรับประทานอาหารได้
ดูรายละเอียดในภาวะเจ็บป่วย ร่างกายจะหลั่งสารอักเสบ ซึ่งส่งผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้เบื่ออาหาร อีกทั้งมีปัจจัยร่วมอื่นๆที่ทำให้ผู้ป่วยรับประทานได้น้อยลง เช่น การรับกลิ่นหรือรสผิดปกติ กระเพาะและลำไส้เคลื่อนไหวน้อย อาการปวด อาการคลื่นไส้ อาเจียน รวมไปถึงอารมณ์ความรู้สึก เช่น ความเครียด วิตกกังวล หรือซึมเศร้า ก็ทำให้รับประทานได้น้อยเช่นกัน
เรียนรู้...วิธีปฏิบัติกับผู้ป่วยอย่างถูกวิธี
หากต้องการเพิ่มพลังงานในอาหารปกติ แนะนำให้เพิ่มปริมาณน้ำมันที่ใช้ประกอบอาหาร เนื่องจากน้ำมันให้พลังงานสูง เช่น การเติมกระเทียมเจียว เลือกเมนูทอดหรือผัด เช่น ไข่เจียว เป็นต้น
อาหารทางการแพทย์ มีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างโภชนาการที่ดี เพราะมีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่
อาการข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็งมีหลายประเภท โดยที่คำแนะนำด้านอาหารในการลดอาการข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็งมีหลากหลายวิธี
ในรายที่มีปัญหาทุพโภชนาการ เสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร ไม่ว่าจะมีแนวโน้มของน้ำหนักตัวลดลง หรือรับประทานข้าวได้ไม่เพียงพอ แนะนำให้ดื่ม “เสริม” โดย 1 แก้ว ให้พลังงานประมาณ 250 กิโลแคลอรี และสำหรับผู้ที่มีปัญหาด้านการเคี้ยว การกลืน ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ หรือผู้ที่ต้องใช้สายให้อาหาร ควรใช้อาหารทางการแพทย์ “ทดแทน” มื้ออาหารหลักในแต่ละมื้อ